วัดพระธาตุดอยคำ

ดาวน์โหลดหน้า E-book

ตำนานการไหลบ่าของทองคำบนยอดดอยสู่การกำเนิด “วัดพระธาตุดอยคำ” พระครูสุนทร เจติยารักษ์ (ครูบาพิณ) เจ้าอาวาสวัดพระธาตุดอยคำ ตั้งอยู่ที่หมู่ ๓ เมืองแม่เหียะ อำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ เป็นวัดสำคัญในจังหวัดเชียงใหม่ อายุเก่าแก่กว่า ๑,๓๐๐ ปี ตั้งอยู่บริเวณดอยคำ ด้านหลังอุทยานหลวงราชพฤกษ์ห่างจากตัวเมืองประมาณ ๑๐ กิโลเมตร มีความสูงจากระดับที่ราบเชียงใหม่ราว ๑๔๐ เมตร และมีความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง ๔๖๕ เมตร และมีลานชมวิวที่สามารถมองเห็นวิวทิวทัศน์รอบเมืองเชียงใหม่ อีกทั้งยังเป็นที่ประดิษฐานพระเจ้าทันใจซึ่งมีอายุเก่าแก่กว่า ๕๐๐ ปี

ตำนานแห่งความศรัทธา วัดพระธาตุดอยคำสร้างในปีพ.ศ. ๑๒๓๐ รัชสมัยพระนางจามเทวี ดอกมะลิเพื่อนำไปสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์เมื่อเดินทางถึงวัด ส่งผลให้เกิด กษัตริย์แห่งหริภุญชัย โดยพระโอรสทั้ง ๒ เป็นผู้สร้าง ประกอบด้วย การค้าขายในช่วงทางขึ้นดอย ทั้งร้านค้า รถบริการขึ้นดอย และเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า ศาลาการเปรียญ จุดจอดรถสำหรับผู้ที่มีแรงศรัทธาในการเดินขึ้นไปจนถึงวัดที่มีความสูงกุฏิสงฆ์ และพระพุทธรูปปูนปั้นจากระดับน้ำทะเลประมาณ ๒๐๐ เมตร ตามตำนานเล่าว่า ณ เทือกเขาถนนธงชัย ด้านทิศตะวันตก เหตุที่ได้ชื่อว่าดอยคำ เนื่องจากศุภนิมิตที่ยักษ์ทั้งสองได้รับบนเทือกเขาเหล่านั้นเป็นที่ประดิษฐานขององค์พระเจดีย์สำคัญ พระเกศาธาตุจากพระพุทธเจ้า ทำให้เกิดฝนตกหนักหลายวัน ทำให้และเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองเชียงใหม่ถึง ๒ องค์พระเจดีย์ แต่ละแห่ง น้ำฝนเซาะและพัดพาแร่ทองคำบนไหล่เขา และลำห้วยไหลลงสู่ปากถ้ำถูกสถาปนาขึ้นโดยพระมหากษัตริย์ในสมัยหริภุญชัยและล้านนา เป็นจำนวนมาก จึงเรียกภูเขาลูกนี้ว่า “ดอยคำ”ตามลำดับ หนึ่งในนั้นคือพระธาตุดอยคำ อยู่บนยอดเขาเล็กๆ ทางจากตำนานหลาย  ฉบับได้กล่าวว่า เทวดาได้นำพระเกศาธาตุที่ทิศตะวันตกเฉียงใต้ของตัวเมืองเชียงใหม่ เรียกว่า “พระธาตุดอยคำ” พระพุทธเจ้าได้ประทานแก่ปู่แสะและย่าแสะ นำขึ้นมาฝังและก่อสถูปซึ่งเคยเป็นที่อยู่อาศัยของยักษ์สองผัวเมีย ชื่อ จิคำ และ ตาเขียว ไว้บนดอยแห่งนี้ ต่อมาในปีพ.ศ. ๑๒๓๐ เจ้ามหันตยศ และ เจ้าอนันตยศ มาก่อน ๒ พระโอรสแฝดของพระนางจามเทวี แห่งหริภุญชัยนครได้ขึ้นมาก่อเจดีย์ต่อมาชาวบ้านเรียกยักษ์ทั้งสองนี้ว่า “ปู่แสะ ย่าแสะ ปู่แสะ ครอบพระสถูปเกศานั้นไว้ ส่วนพระเจดีย์แห่งที่ ๒ ตั้งอยู่บนยอดเขาสูงย่าแสะมีลูก ๑ คน ชื่อว่า “สุเทวฤษี” เนื่องจากทั้งคู่ทำหน้าที่ปกป้อง ทางทิศเหนือของดอยคำ คือ พระธาตุดอยสุเทพ “วัดพระธาตุดอยคำดูแลป่าในอาณาบริเวณดอยคำ จึงเป็นที่แห่งแรกที่ใครที่จะมาวัด เดิมชื่อ วัดสุวรรณบรรพต แต่ชาวบ้านเรียกว่า “วัดดอยคำ” พ.ศ. ๒๕๐๙ จำเป็นต้องให้ความเคารพผู้ปกปักรักษาผืนดินผืนป่าบริเวณนี้ ขณะนั้นวัดดอยคำเป็นวัดร้าง ต่อมากรุแตกชาวบ้านพบโบราณวัตถุก่อนเดินทางขึ้นสู่วัด โดยสิ่งของบูชาสามารถจัดซื้อได้ตามซุ้มร้านค้า หลายชิ้น เช่น พระรอดหลวง พระหินทรายปิดทององค์ใหญ่ พระสามหมอบริเวณนั้น มีทั้งสิ่งของที่จัดเตรียมเพื่อบูชาปู่แสะและย่าแสะ รวมถึง (เนื้อดิน) ซึ่งนำมาประดิษฐานไว้ ณ วัดพระธาตุดอยคำ


กิจกรรมวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรม


วันสรงน้ำพระธาตุ วัดพระธาตุดอยคำจัดงานบุญเป็นประจำทุกปี โดยยึดถือเอาวันแรม ๘ ค่ำ หลังวันวิสาขบูชาทุกปี เป็นวันสรงน้ำพระธาตุ ซึ่งถือว่าเป็นวันถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (หลังเสด็จดับขันธปรินิพพานได้ ๘ วัน) คือวันอัฏฐมีบูชา ถือเป็นวันสำคัญในพระพุทธศาสนาวันหนึ่ง ตรงกับวันแรม ๘ ค่ำ เดือนวิสาขะ (เดือน ๖ ของไทย) นอกจากนั้นวันอัฏฐมีบูชายังเป็นวันคล้ายวันที่พระนางสิริมหามายา พระพุทธมารดาสิ้นพระชนม์ (หลังประสูติ) และเป็นวันคล้ายวันที่พระพุทธองค์เสวยวิมุตติสุขตลอด ๗ วัน (หลังตรัสรู้) อีกด้วยถือเป็นวันสำคัญในพระพุทธศาสนาวันหนึ่ง ตรงกับวันแรม ๘ ค่ำ เดือนวิสาขะ (เดือน ๖ ของไทย)ทางวัดพระธาตุดอยคำ จึงยึดถือเอาวันนี้จัดงาน และพิธีสรงน้ำเพื่อรำลึกนึกถึง พระพุทธคุณพระธรรมคุณ และสังฆคุณ ที่ท่านได้สร้างเผยแพร่พระพุทธศาสนาเอาไว้ด้วย

ประวัติและปฏิปทาท่านเจ้าอาวาส พระครูสุนทร เจติยารักษ์ หรือ “ครูบาพิณ” ปัจจุบันอายุ ๖๕ ปี ๔๔ พรรษา ท่านเป็นพระที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความเมตตา กรุณาต่อศิษยานุศิษย์และประชาชนทั่วไปอย่างกว้างขวาง ท่านมักช่วยงานสงเคราะห์ต่างๆ อย่างสม่ำเสมอ และเมื่อวันที่ ๑๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๒ ที่ผ่านมา ณ วัดพระธาตุดอยคำ ศิษยานุศิษย์และประชาชน ได้ร่วมทำบุญสืบชะตาอายุวัฒนมงคล ถวายพระครูสุนทร เจติยารักษ์ ในฐานะที่ปรึกษาเจ้าคณะตำบลแม่เหียะ โดยมีพระเทพปริยัติ เจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่ พระราชรัชมุนีเจ้าคณะอำเภอเมืองเชียงใหม่ และพระสงฆ์รวม ๒๗ รูปทำพิธี พร้อมเจริญพระพุทธมนต์โดยมีนายธีรพงษ์ อินทร์พันธุ์ ผู้อำนวยการสำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดเชียงใหม่นายธวัชชัย กุลนรา เลขานุการนายกเทศมนตรีตำบลแม่เหียะ นางศิวณัฐ รัชตดำรงรัตน์ หรือป้าอ้วยดอยคำ กรรมการและเหรัญญิกวัด พร้อมคณะกรรมการ ศิษยานุศิษย์ประชาชน และนักท่องเที่ยวเข้าร่วมจำนวนมากต่อมาพระพรหมมงคล หรือหลวงปู่ทอง เจ้าอาวาสวัดพระธาตุศรีจอมทองอำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ในฐานะที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค ๗ ได้ทำพิธีสืบชะตาแก่พระครูสุนทรเจติยารักษ์ หรือ ครูบาพิณ จากนั้นทุกคนที่มาร่วมงานได้รับพรจากหลวงปู่ทอง ปะพรมน้ำพุทธมนต์ และโบกพัดเคาะศีรษะแก่ศิษยานุศิษย์ และผู้มาร่วมงานทุกคนเพื่อความเป็นสิริมงคลกับชีวิต

หลวงพ่อทันใจ

หลวงพ่อทันใจ แห่งวัดพระธาตุดอยคำสร้างขึ้นในรัชสมัยพญาคือนา กษัตริย์แห่งอาณาจักรล้านนาปัจจุบันมีชื่อเสียงอย่างมากในเรื่องของความศักดิ์สิทธิ์ หลายต่อหลายครั้งที่มีผู้เดินทางมาขอพรแล้วประสบความสำเร็จ และได้เดินทางกลับมาถวายดอกมะลิเพื่อแก้บน แม้เป็นความเชื่อส่วนบุคคล หากเมื่อได้มาสัมผัสอย่างใกล้ชิด กราบสักการะองค์ท่านด้วยจิตที่เป็นกุศลและเกิดสมาธิก็จะทำให้พบความโล่งโปร่งเบาภายในใจขณะนั้น ซึ่งอาจเรียกว่าเป็นความศักดิ์สิทธิ์ของหลวงพ่อทันใจที่ดลบันดาลให้กิเลสภายในใจไม่มารบกวนก็เป็นได้ และเมื่อผู้มีจิตศรัทธากราบด้วยจิตที่เป็นกุศลย่อมทำให้ใจเบิกบาน คิดอ่านอะไรก็สำเร็จเป็นธรรมดาการขอพรจาก “หลวงพ่อทันใจ” ก็คือการอธิษฐาน จะต้องใช้ดอกมะลิสด ๕๐ พวงขึ้นไป และสิ่งที่สำคัญมากๆ ในการให้อธิษฐานขอพร คือ ขอได้เพียง “อย่างเดียวเท่านั้น” ปัจจุบันมีผู้คนที่มาอธิฐานและขอพรหรือบนบานศาลกล่าวกันเป็นจำนวนมาก พอได้โชคลาภโชคดีดังที่ขอก็จะนำดอกมะลิมากราบไหว้อีกเป็นจำนวนมาก ซึ่งในแต่ละวันจะมีคนนำดอกมะลิมากราบไหว้ไม่น้อยกว่าหลายพันพวงเลยทีเดียว “หลวงพ่อทันใจ” เป็นพระวัดคู่บ้านคู่เมืองของชาวเชียงใหม่มากว่า ๑,๔๐๐ ปี และถือว่าเป็นวัดที่เก่าแก่ที่สุดในจังหวัดเชียงใหม่เป็นสถานอันศักดิ์สิทธิ์ของผู้ที่นับถือศาสนาพุทธเลยก็ว่าได้

ภาพมุมสูง

  “มาไหว้พระรับพรรับบุญที่พระธาตุคอยคำแล้ว เชิญมารับประทานอาหารที่ครัวโอบบุญ”
อ่านละเอียดเพิ่มเติม 
 คลิกที่นี่

 

 

 

 

คลิกเพื่อนำทาง