มหากาลทานอันยิ่งใหญ่   สุดยอดแห่งบุญ
ขอเชิญผู้มีจิตกุศลศรัทธา   ร่วมเป็นเจ้าภาพในการสร้าง
พระธาตุมิ่งเมืองเกาะแก้วศรีโคตร์บุรี
(รูปแบบศิลปะล้านช้าง  ความสูง ๔๐  เมตร)

วัดเกาะแก้วอัมพวัน
ตำบลธาตุพนม  อำเภอธาตุพนม  จังหวัดนครพนม

ปฐมฤกษ์การสร้าง วาระที่ ๑
ในวันอาทิตย์ที่ ๒๓ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๖๕
ณ ลานธรรม วัดเกาะแก้วอัมพวัน อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม

ร่วมทำบุญได้ที่ ธนาคารกรุงไทย สาขาธาตุพนม
เลขบัญชี 885 – 0 – 38899-3
ชื่อบัญชี วัดเกาะแก้วอัมพวัน (ธรรมยุต) เพื่อจัดสร้างพระธาตุมิ่งเมืองเกาะศรีโคตร์บุรี

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ได้ที่สำนักงานวัดเกาะแก้วอัมพวัน
พระครูวินัยธรปุณณภูรีวัฒน์  ฐิติญาโณ  เจ้าอาวาสวัดเกาะแก้วอัมพวัน
โทร. ๐๘๗ ๕๒๖ ๒๕๑๖

 

“พระธาตุมิ่งเมืองเกาะแก้วศรีโคตร์บุรี”
วัดเกาะแก้วอัมพวัน ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม
มีความสูง ๔๐ เมตร

             “พระธาตุมิ่งเมืองเกาะแก้วศรีโคตร์บุรีนี้” นอกจากเป็นที่บรรจุพระรมสารีริกธาตุแล้ว ยังจะได้บรรจุฟันของ หลวงปู่เสาร์ กันตสึโส และ พระธาตุหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ไว้ในองค์พระธาตุด้วย หลวงปู่เสาร์และหลวงปู่มั่นถือเป็นปรมาจารย์ต้านกรรมฐานของประเทศไทย ได้ใช้วิชากรรมฐานเผยแผ่พระพุทธศาสนาแก่พระพุทธศาสนิกชนมาตั้งอดีตจนแผ่หลายจนถึงปัจจุบัน ดังนั้น จึงขอใช้ คำว่า “๔๐” ในคำว่า “กรรมฐาน ๔0 อย่าง มาสร้างพระธาตุฯให้มีความสูง ๔๐ เมตร
๔๐ เมตร หมายถึง กรรมฐาน ๔o
๑. กสิณกรรมฐาน ๑๐ อย่าง
๒. อสุภกรรมฐาน ๑๐ อย่าง
๓. อนุสสติกรรมฐาน ๑๐ อย่าง
๔. พรหมวิหารกรรมฐาน ๔ อย่าง
๕. อรูปกรรมฐาน ๔ อย่าง
๖. อาหาเรปฏิกูลสัญญา ๑ อย่าง
ต. จตุธาตุววัฏฐาน ๑ อย่าง

(พระมหาพิษณุ ปญญาเสฎโฐ ป.ธ.๔)  ผู้ให้ความหมาย

“พระธาตุมิ่งเมืองเกาะแก้วศรีโคตร์บุรี”

พระธาตุ      หมายถึง พระบรมสารีริกธาตุ
พระอรทันตธาตุ ของหลวงปู่เสาร์ กันตสีโล
พระอรทันตธาตุ ของหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
มิ่งเมือง      หมายถึง พระบรมสารีริกธาตุเป็นตัวแทนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า สถิตอยู่สถานที่ใด สถานที่นั้น ก็เกิดความเป็นสิริมงคล ร่มเย็น เป็นสุข                                    เจริณรุ่งเรือง
เกาะ           หมายถึง ที่พึ่ง,ที่อาศัยของสรรพสัตว์
แก้ว            หมายถึง แก้ว ๓ ประการ คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
ศรีโคตร์บุรี หมายถึง เป็นมงคลประจำอยู่ในอาณาจักรศรีโคตรบูรณ์

“พระบรมธาตุอันเป็นมิ่งมงคลของวัตเกาะแก้วอัมพวันสถิตอยู่ประจำเมืองศรีโคตรบูรณ์”

(พระมหาพิษณุ ปญญาเสฎโจ ป.ธ.๔) ผู้ให้ความหมาย

 

                                 

คลิกเพื่อนำทาง